อู่ ทำ สี รถยนต์ บางปู

โครง งาน จักสาน ไม้ไผ่ Doc

  1. โครงงาน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น: การจักสาน
  2. บทที่ 1 - phatcharaporn
  3. Gyneco

ไม้ไผ่เฮี้ยะ เป็นไผ่ที่ชอบขึ้นตามป่าชื้นเชิงเขาใกล้แหล่งน้ำเป็นที่ลำปล้องยาวมากบางต้นมีลำปล้องยาวถึง 4 ฟุต กอไผ่ห่าง ผิวไผ่จะออกคายเหลือง หรือเขียวหม่นๆ ผิวไผ่ไม่มัน เนื้อไผ่เฮี้ยะบาง สันข้อตื้น ลำต้นตั้งตรง ยาวประมาณ 6-8 เมตร สังเกตได้ว่าจะไม่มีแขนงไผ่ยื่นออกมา ไผ่เฮี้ยะเป็นไผ่ที่ให้เนื้อไม้ไผ่ไม่มาก ลำต้นกลวงนิยมนำมาสานเป็นฝากระท่อมในชนบทไม้ไผ่เฮี้ยะเป็นตัวประกอบของงานจักสานได้เป็นบางส่วน เพราะเนื้อไม้ไผ่เมื่อแห้งจะกรอบ 5. ไม้ไผ่ข้าวหลาม เป็นไผ่ที่ชอบขึ้นตามป่าชื้นเชิงเขาใกล้แหล่งน้ำเหมือนไผ่เฮี้ยะ ผิวเป็นคายออกเขียวจัด ไม้ข้าวหลามบางปล้องยาวประมาณ 2 ฟุต แต่เนื้อไม้หนากว่าไม้ไผ่เฮี้ยะ สันข้อหนา ลำต้นตั้งตรง ยาวประมาณ 6-7 เมตร ข้อสังเกตไม้ไผ่ข้าวหลาม ผิวไม้จะชุ่มชื้นกว่าไม้ไผ่เฮี้ยะ ไม้ไผ่ข้าวหลามนิยมนำมาทำเป็นกระบอกข้าวหลามในบางฤดูกาล เส้นตอกจะเหนียวและได้เส้นตอกที่กว้าง สามารถนำมาสานเป็น กระด้ง ตะแกรง ตอกมัดข้าว ถักป็นเส้นเปีย นำมาเย็บเป็นหมวก 6. ไม้ไผ่สีสุก เป็นไม้ไผ่ที่กอไผ่ค่อนข้างใหญ่ ทรงแผ่ออกกว้าง มีแขนงหนามโดยรอบกอ จะพบใกล้แหล่งน้ำในชนบท ขึ้นไม่ไกลจากหมู่บ้านมากนัก มักจะเป็นไผ่ที่ชาวบ้านนำไปปลูกแพร่ขยายพันธุ์เอง ลำต้นสูงใหญ่ ผิวไผ่เป็นมัน เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 7 นิ้ว ปล้องแต่ละปล้องยาวประมาณ 1-2 ฟุต ลำต้นตั้งตรง แนงไผ่มาก เนื้อไม้ไผ่สีสุกมีความหนากว่าไม้ไผ่ที่กล่าวมาข้างต้นไผ่สีสุก เป็นไม้ไผ่ที่มีคุณค่าในการจักสานได้ทุกชนิดตั้งแต่ กระบุง ตะกร้า กระด้ง ตะแกรง เข่ง ไซดักปลา สุ่มปลา ฯลฯ และยังสามารถนำมาทำโครงสร้างเรือนไม้ไผ่ เป็นไม้ไผ่ที่สามารถสร้างสรรค์งานได้ทั้งงานหยาบและงานละเอียด เพราะเนื้อไม้ไผ่ค่อนข้างเหนียวทนทาน 7.

โครงงาน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น: การจักสาน

  1. สมุด ภาพ อะไหล่ suzuki step 125 scooter
  2. แนวทางหวยออมสิน 1/7/63 สลากพิเศษ 5 ปี แม่นๆ งวดนี้ล่าสุด - เลขเด็ดออนไลน์
  3. บทที่ 1 - phatcharaporn
  4. กล้อง ฟิล์ม compact auto focus rh
  5. โครง งาน จักสาน ไม้ไผ่ doc.fedora

2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1 เพื่อให้คนปัจจุบันได้รู้วิธีการสานตะกร้าด้วยไม้ไผ่ 2 เพื่อจะได้ฝึกทำการสานตะกร้าด้วยไม้ไผ่ 3 เพื่อพัฒนาโปรแกรมเวิร์สเพรส 1. 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 ได้รู้วิธีการจักสานตะกร้าด้วยไม้ไผ่ 2 ได้ตะกร้าไว้ใส่ของเอง 3 ได้รู้เรื่องการทำโครงงานโดยเวิร์สเพรส 1. 4 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน คอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต และ ไม้ไผ่บ้าน (ภาษาถิ่นอีสาน) ที่มีอายุประมาณ ๒ ปีขึ้นไป ที่หาได้ในท้องถิ่นของตนเองและหมู่บ้านใกล้เคียงจะทำให้มอดไม่กิน เลื่อยสำหรับตัดไม้ไผ่ มีดขนาดใหญ่ (มีดโต้) สำหรับผ่าไม้ไผ่ เหลาตาไม้ไผ่ และจักตอก มีดตอก สำหรับเหลาตอกให้เรียบ 1. 5 แผนการดำเนินงาน 1 ศึกษาหัวข้อโครงงาน 2 บทที่ 1 บทนำ – ที่มาและปัญหาของโครงงาน – วัตถุประสงค์ – ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ – เครื่องมือที่ใช้พัฒนาโครงงาน 3 บทที่ 2 ความรู้พื้นฐาน – ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสานตะกร้าด้วยไม้ไผ่ – ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเวิร์ดเพรส 4 จัดรูปเล่มรายงาน 5 นำเสนอโครงงาน

บทที่ 1 - phatcharaporn

โครง งาน จักสาน ไม้ไผ่ doc officielle

Gyneco

วัตถุดิบ ที่นำมาใช้ทำเครื่องจักรสานของชาวนครไทย ส่วนใหญ่จะเป็นไม้ไผ่ โดยนำไม้ไผ่มาจักเป็นตอกเป็นเส้น เพื่อให้สานสิ่ง ต่างๆ ได้สะดวกและได้รูปทรงตามต้องการ ไม้ไผ่ที่นำมาใช้ทำเครื่องจักสาน เช่น ไผ่สีสุก, ไผ่รวก, ไผ่เฮี้ยะ(ไม้เฮี๊ยะ), ไผ่ข้าวหลาม นอกจากไม้ไผ่ ชาวนครไทยยังนำวัตถุดิบจากธรรมชาติมาใช้ทำเครื่องจักสาน เช่น หวาย เป็นต้น 2. เครื่องมือที่ใช้ทำเครื่องจักรสาน 2. 1 มีด ที่ใช้โดยทั่วไปเป็นมีดเหล็กกล้าเนื้อแกร่ง มี 2 ชนิด คือ 2. 1. 1 มีดสำหรับผ่าและตัดเช่น มีดอีโต้ ใช้ตัดและผ่าไม้ไผ่และหวาย ที่จะใช้ทำเครื่องจักรสานให้มีขนาดตามต้องการ ก่อนที่จะ นำไปจักเป็นตอก 2. 2 มีดตอก คือ มีดสำหรับจักตอก เป็นมีปลายเรียวแหลม ปลายและด้ามงาน ส่วนมากตัวจะส้นกว่าด้ามเพราะในการจักหรือ เหลาตอกจะใช้ด้ามสอดเข้าไประหว่างแขนกับลำตัว เพื่อให้จักหรือเหลาตอกได้สะดอก 2. 2 เหล็กมาด เป็นเหล็กปลายแหลม ใช้สำหรับเจาะ ไซ งัด แงะ 2. 3 คีมไม้ มีรูปร่างคล้ายคีมทั่วไป แต่มีขนาดใหญ่และทำด้วยไม้เนื้อแข็ง เพื่อใช้หนีบปากภาชนะจักสานเพื่อเข้าขอบ เช่น ใช้หนีบขอบกระบุง ตะกร้า กระจาด คีมจะช่วยให้ช่างจักรสานเข้าขอบภาชนะจักสานได้สะดวกโดยไม่ต้องใช้ผู้ช่วย 3.

โครง งาน จักสาน ไม้ไผ่ doc.ubuntu

การสานและลายสาน การทำเครื่องจักรสานของชาวนครไทย เริ่มต้นจากการ " จัก " คือการเอามีดผ่าไม้ไผ่ ให้แตกออกจากกันเป็นเส้นบางๆ แล้ว " สาน " เป็นเครื่องจักสานประเภทต่างๆ ให้มีรูปทรงสอดคล้องกับการใช้สอยและขนบนิยมของท้องถิ่น การนำแบบของลายใดมาใช้กับเครื่อง จักสานใดนั้นขึ้นอยู่กับความเหมาะสมที่บรรพบุรุษได้ทดสอบใช้สืบต่อกันมาก ลายสานและกรรมวิธีในการสานในอำเภอนครไทยแบ่งออกเป็นแบบต่างๆ ได้ดังนี้ 3. 1 ลายขัด เป็นลายต้นแบบ ลักษณะของลายขัดเป็นการสร้างแรงยึดระหว่างตอกด้วยการขัดกันเป็นรูปมุมฉากระหว่างแนวตั้งกับ แนวนอนใช้ตอกยืนแนวตั้ง สอดขัดกับตอกแนวนอนโดยยกเส้นหนึ่งจ่มหรือขัดลงเส้นหนึ่งสลับกันไป เรียกว่า ลายขัดหรือ ลายหนึ่ง จากลายหนึ่งได้พัฒนามาเป็นลายสอย ลายสาม และรายอื่นๆ แต่ยังคงรักษาลักษณะการสอดและการขัดกันเช่นเดิม แต่ใช้เส้นตอก ในแนวตั้งและแนวนอนมากกว่าหนึ่งเส้น และสอดขัดกันให้สลับไปสลับมาเกิดเป็นลายสอย ลายสาม และลายอื่นๆ 3. 2 ลายทแยง เป็นวิธีสานที่ใช้ตอกขัดกันในแนวทแยง ไม่มีเส้นตั้งและเส้นนอน แต่จะสานจัดกันตามแนวทแยงเป็น หกเหลี่ยม เชื่อมกันไปเรื่อยๆ คล้ายรวงผึ้ง ลายชนิดนี้จึงมักสานโปร่ง เช่น ลายตาเข่ง ลายเฉลว ลายชะลอม 3.

  1. Sony rx100 m5 มือ สอง
  2. ไบ เท ค บางนา goth rock
  3. ลวก หอย แครง ให้ กรอบ
Fri, 29 Oct 2021 18:50:41 +0000